[Online-Certificate]

Home : Open Enrollment Programs (Public Training Course) » All » Finance & Accounting

offline course หลักสูตร Visionary CFO

ค่าธรรมเนียมการอบรม :

  • จำนวนเงิน 129,000 บาท (Early bird : 24 มิ.ย. – 23 ส.ค. 67)
  • จำนวนเงิน 140,000 บาท

รับชำระผ่านการสแกน QR Code Payment
Tuesday, 03.09.2024 - Tuesday, 19.11.2024
จำนวนรับสมัคร : 40 คน
ระยะเวลาอบรม : 151 ชั่วโมง

รับชำระค่าธรรมเนียม

*


✨ "ก้าวขึ้นสู่ตำแหน่ง CFO อย่างมั่นใจ" ✨


หลักสูตร Visionary CFO

หลักการและเหตุผล

ในปัจจุบันโลกธุรกิจมีการเปลี่ยนแปลงหลากหลายรูปแบบ ทำให้องค์กรต้องมีการปรับตัวเพื่อเอาตัวรอดและพัฒนาความพร้อมด้านต่าง ๆ เพื่อรองรับการเปลี่ยนแปลงที่รวดเร็วนี้เสมอ ซึ่งตำแหน่งนักบัญชีก็เป็นบุคลากรที่มีความสำคัญต่อองค์กรเป็นอย่างมาก เพราะปัจจุบันนักบัญชีไม่ใช่แค่การทำงานด้านการเงินเท่านั้น แต่ยังสามารถนำความรู้ ความเชี่ยวชาญ ด้านการเงินมาใช้ดำเนินกิจกรรมทางธุรกิจได้อย่างถูกต้องและมีประสิทธิภาพอีกด้วย ซึ่งแน่นอนว่าตำแหน่งที่นักบัญชีโดยส่วนใหญ่อยากก้าวไปให้ถึงนั้นก็คือ CFO หรือ Chief Financial Officer ที่มีบทบาทในการเป็นผู้บริหารด้านการเงินขององค์กร ทั้งยังมีส่วนร่วมในการนำความรู้มาประยุกต์ใช้ในการพัฒนา วางแผน และกำหนดกลยุทธ์ให้องค์กรสามารถเติบโตไปได้ตามเป้าหมายที่วางไว้ เช่น การประเมินโครงการลงทุนและการตัดสินใจ การวิเคราะห์การเงินและความเสี่ยงขององค์กร เป็นต้น 
โครงการอบรมหลักสูตร Visionary CFO ของคณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ เป็นหลักสูตรการอบรมที่เน้นสร้างทักษะการเตรียมความพร้อมให้กับบุคคลเพื่อก้าวขึ้นสู่ตำแหน่ง CFO หรือการพัฒนาความรู้ ความสามารถให้กับผู้บริหารที่ดำรงตำแหน่ง CFO ให้มีความสามารถในการบริหารงานได้อย่างมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น และเป็นกำลังสำคัญให้กับการบริหารองค์กร และโครงการอบรมหลักสูตร Visionary CFO ยังเน้นการเรียนรู้ผ่านกิจกรรม Workshop ที่สามารถปฏิบัติได้จริง กรณีศึกษา การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่างผู้บริหารที่ประสบความสำเร็จ การสร้างเครือข่ายนักบริหารเพื่อความร่วมมือในอนาคต รวมทั้งการเตรียมความพร้อมให้กับบุคลากรในบริษัททั้งขนาดเล็กและขนาดใหญ่ในการเข้าสู่ตลาดหลักทรัพย์

วัตถุประสงค์

1. เพื่อให้ผู้เข้าอบรมสามารถนำความรู้มาประยุกต์ใช้กับธุรกิจได้อย่างมีประสิทธิผล 
2. เพื่อให้ผู้เข้าอบรมมีความรู้ ความสามารถ สำหรับการเตรียมตัวก้าวสู่การเป็น CFO ในอนาคต
2. เพื่อเพิ่มความสามารถทางการเงิน การบริหาร และพัฒนาศักยภาพความเป็นผู้บริหารระดับสูง 
4. เพื่อแลกเปลี่ยนความรู้ และประสบการณ์จริงระหว่างวิทยากรผู้ทรงคุณวุฒิและกลุ่มผู้เข้าอบรม 
5. เพื่อเตรียมความพร้อมให้กับบุคลากรในบริษัทที่กำลังจะเข้าสู่ตลาดหลักทรัพย์

กลุ่มเป้าหมาย จำนวน 40 ท่าน

1. ผู้ที่จะก้าวเข้าสู่ตำแหน่ง CFO หรือ Chief Financial Officer ในอนาคต
2. ผู้ที่ดำรงตำแหน่ง CFO หรือ Chief Financial Officer
3. บุคลากรระดับสูงที่ทำงานทางด้านการเงิน การบัญชี ทั้งภาครัฐและเอกชน
4. บุคคลทั่วไปที่สนใจ ด้านบัญชีการเงิน
** ไม่จำเป็นต้องมีพื้นฐานด้านบัญชีการเงิน

หลักสูตรการอบรม รวมทั้งสิ้น 151 ชั่วโมง ประกอบด้วยหัวข้อวิชา ดังนี้


MODULE 1: จำนวน 87 ชั่วโมง

1. ภาพรวมการเงินธุรกิจและบทบาทของ CFO

  • เป้าหมายของการบริหารด้านการเงิน

  • แนวคิดการจัดการอิงหลักมูลค่าและตัววัดมูลค่า

  • โครงข่ายการสร้างมูลค่า

  • ความเชื่อมโยงของแผนกลยุทธ์กับตัวสร้างมูลค่า

  • มูลค่าเพิ่มเชิงเศรษฐกิจ

  • บทบาทและหน้าที่ความรับผิดชอบของ CFO

2. อ่านงบให้รู้ ดูงบให้เป็น: วิเคราะห์ ประเมินและบ่งชี้แนวทางดำเนินธุรกิจในอนาคต

  • สินทรัพย์ : ประเมินศักยภาพความสามารถในการสร้างรายได้ กำไรและผลตอบแทน

  • หนี้สินและส่วนของเจ้าของ : ประเมินความมั่นคง/ความเสี่ยง

  • ความสามารถในการดำเนินงานและคุณภาพกำไร

  • วิเคราะห์และประเมินผ่านกระแสเงินสดจากทั้งสามกิจกรรม

  • วิเคราะห์ด้วยอัตราส่วนทางการเงิน

  • สภาพคล่อง

  • ความสามารถในการใช้ประโยชน์จากสินทรัพย์

  • ภาระหนี้และความสามารถในการจ่ายหนี้

  • ความสามารถในการทำกำไรและสร้างผลตอบแทน

  • การใช้ Dupont System ในการวิเคราะห์และกำหนดแผนดำเนินงานในอนาคต

  • ประโยชน์จากการอ่านงบการเงิน นอกเหนือจากการใช้วิเคราะห์ 

3. แหล่งเงินทุนและทางเลือกในการระดมทุน

  • ความหมายของเงินทุน (Capital) และประเภทของเงินทุน

  • แหล่งเงินทุนภายในและภายนอก

  • การระดมทุนจากการก่อหนี้

  • เงินกู้ยืมจากสถาบันการเงิน

  • การออกหุ้นกู้

  • การระดมทุนจากหุ้นบุริมสิทธิ

  • การระดมทุนจากหุ้นสามัญ

  • ใบสำคัญแสดงสิทธิในการซื้อหุ้นสามัญ

  • หลักเกณฑ์สำคัญในการเลือกตราสารในการระดมทุน

4. ต้นทุนเงินทุน: อัตราตัดสินใจทางการเงิน

  • เหตุผลที่เงินทุนต้องมีต้นทุน

  • ต้นทุนเงินจากเจ้าใดสูงกว่า?

  • ต้นทุนเงินทุนจากหนี้สิน

  • ต้นทุนของเงินกู้ยืม

  • ต้นทุนของหุ้นกู้

  • ต้นทุนเงินทุนจากหุ้นบุริมสิทธิ

  • ต้นทุนเงินทุนจากหุ้นสามัญ

  • ต้นทุนเงินทุนถัวเฉลี่ยถ่วงน้ำหนัก

  • การกำหนดอัตราตัดสินใจทางการเงิน (Hurdle Rate)

5. โครงสร้างเงินทุน: สัดส่วนเงินจากเจ้าหนี้และเจ้าของที่เหมาะสม (*)

  • เป้าหมายและผลกระทบของโครงสร้างเงินทุนต่อมูลค่ากิจการ

  • ทฤษฎีเกี่ยวกับโครงสร้างเงินทุน (โดยสรุป)

  • การศึกษาหาโครงสร้างเงินทุนที่เหมาะสม

  • ปัจจัยที่ต้องคำนึงถึงในการกำหนดโครงสร้างเงินทุนเป้าหมาย

  • ความเสี่ยงทางธุรกิจและความเสี่ยงทางการเงิน 

6. การประเมินโครงการลงทุน

  • ความหมายและผลกระทบของโครงการลงทุนที่มีต่อการสร้างมูลค่ากิจการ

  • ภาพรวมการพัฒนาและวิเคราะห์โครงการลงทุน

  • วัตถุประสงค์และขั้นตอนของการวิเคราะห์ด้านการเงิน

  • สรุปเงินลงทุนในโครงการ

  • แหล่งเงินทุนและต้นทุนเงินทุน (อัตราลดค่าเพื่อใช้ตัดสินใจ)

  • กระแสเงินสดโครงการ (อิสระ)

  • โครงการที่เป็นอิสระต่อกันและโครงการที่ทดแทนกันได้

  • เครื่องมือในการประเมินเพื่อตัดสินใจลงทุน

7. การประเมินมูลค่าหุ้นสามัญและกิจการ

  • การประเมินมูลค่าหุ้นสามัญจากสินทรัพย์อ้างอิง

  • การประเมินมูลค่าหุ้นสามัญด้วยตัวคูณจากตลาด (ราคาเทียบเคียง)

  • การประเมินมูลค่าหุ้นสามัญด้วยวิธีตีลดค่าเงินปันผล

  • การประเมินมูลค่าหุ้นสามัญและกิจการด้วยวิธีตีลดค่ากระแสเงินสดอิสระ

  • การประเมินจากกระแสเงินสดอิสระของกิจการ

  • การประเมินจากกระแสเงินสดอิสระของผู้ถือหุ้น

  • ข้อควรระวังในการประเมินมูลค่าหุ้นสามัญและกิจการด้วยวิธีตีลดค่ากระแสเงินสดอิสระ

8. สภาพคล่องและการบริหารเงินทุนหมุนเวียน : เส้นเลือดหล่อเลี้ยงธุรกิจ

  • ความหมายและความสำคัญของเงินทุนหมุนเวียน

  • นโยบายการลงทุนและการจัดหาเงินทุนสำหรับเงินทุนหมุนเวียน

  • การบริหารสินทรัพย์สภาพคล่อง

  • วงจรการแปรสภาพเป็นเงินสด : ภาพรวมสภาพคล่องธุรกิจ

  • การกำหนดขนาดเงินสดที่เหมาะสม

  • งบประมาณเงินสด : เครื่องมือสำคัญในการวางแผนและบริหารเงินสด

  • ตัวชี้วัดอัตราส่วนสภาพคล่องเพื่อควบคุมและจัดการสภาพคล่อง

9. การจัดการความเสี่ยงองค์กร (Enterprise Risk Management)

  • เหตุแห่งการจัดการความเสี่ยง

  • ภาพรวมการจัดการความเสี่ยงองค์กร

  • กรอบการจัดการความเสี่ยงองค์กร

  • ประเภทของความเสี่ยง

  • ความเสี่ยงจากอัตราแลกเปลี่ยนเงินตราต่างประเทศ

  • ความเสี่ยงจากราคาสินค้าโภคภัณฑ์

  • ความเสี่ยงจากอัตราดอกเบี้ย

  • ความเสี่ยงจากการเลือกโครงการลงทุน

  • ความเสี่ยงจากการจัดการเครดิต 9 ชั่วโมง

10. การกำหนดกลยุทธ์ด้านการเงิน

  • วงจรชีวิตธุรกิจและการกำหนดกลยุทธ์

  • กลยุทธ์ด้านการเงินสำหรับธุรกิจริเริ่มใหม่ (Start-Up)

  • กลยุทธ์ด้านการเงินสำหรับธุรกิจเติบโต

  • กลยุทธ์ด้านการเงินสำหรับธุรกิจอิ่มตัว

  • กลยุทธ์ด้านการเงินสำหรับธุรกิจที่กำลังถดถอย

11. Non-Organic Growth ผ่านการ M&A

  • มูลค่าและแรงจูงใจในการเติบโตผ่านการ M&A

  • ประเภทของ M&A

  • การหากิจการเป้าหมายที่จะทำการ M&A

  • การวิเคราะห์และประเมินกิจการที่จะเข้าซื้อ

  • การดำเนินการและกำหนดราคาเสนอซื้อ

  • บทบาทของที่ปรึกษาทางการเงิน/วาณิชธนากร

  • ประเด็นด้านภาษีและกฎหมายที่สำคัญในการทำ M&A

12. การบริหารการเงินสำหรับธุรกิจนานาชาติ : การจัดการความเสี่ยงอัตราแลกเปลี่ยน

  • การบริหารการเงินสำหรับธุรกิจนานาชาติและธุรกิจในประเทศ

  • ความเข้าใจพื้นฐานเรื่องตลาดเงินตราต่างประเทศ

  • ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการเปลี่ยนแปลงของอัตราแลกเปลี่ยน

  • ทฤษฎีและตัวแบบเกี่ยวกับอัตราแลกเปลี่ยน (การวิเคราะห์แบบปัจจัยพื้นฐาน)

  • การวิเคราะห์ทางด้านเทคนิค

  • การจัดการความเสี่ยงอัตราแลกเปลี่ยนจากธุรกรรมการค้า (Transaction Risk)

MODULE 2: จำนวน 39 ชั่วโมง

13. มาตรฐานการรายงานทางการเงินที่ CFO ต้องทราบ

  • มาตรฐานการรายงานทางการเงิน ฉบับที่ 15 เรื่อง รายได้จากสัญญาที่ทำกับลูกค้า

  • มาตรฐานการรายงานทางการเงิน PACK5

  • มาตรฐานการรายงานทางการเงินกลุ่มเครื่องมือทางการเงิน โดยเฉพาะการบัญชีป้องกันความเสี่ยง

  • มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 12 เรื่อง ภาษีเงินได้

  • การเปิดเผยข้อมูลเกี่ยวกับรายการระหว่างกัน

  • มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 33 เรื่อง กำไรต่อหุ้น

14. แผนการเงินและประมาณการทางการเงิน (Financial Plan & Financial Forecasting)

  • Financial forecasting

  • Assumptions are the most important.

  • Sensitivity analysis

15. Efficiency of managerial reports

  • Data visualization

  • Responsibility centers

  • Segment reporting

  • Performance measurement

16. Digital transformation

  • Big data

  • Data analytics

  • Digital ecosystem

MODULE 3: จำนวน 22 ชั่วโมง

17. Corporate Tax Planning

  • Corporate income tax

  • Value added tax

  • Import tax

  • Excise tax

  • Tax planning for corporate

  • International tax planning

18. Internal Control and Related Party Transaction

  • Understanding the role of Internal control

  • Responsibilities of Internal control

  • Relationship between Internal control and Board of Director and Audit Committee

  • Related Party Transaction

19. Investor Relationship

  • Role of Investor Relations

  • Importance of Investor Relations

  • Investor Relations characteristics

  • Communication to Investors

20. กิจกรรมอื่น ๆ

  • กิจกรรมแนะนำตัว

  • Dinner Talk 

ทัศนศึกษาดูงานในประเทศ


 **สงวนลิขสิทธิ์ตามพระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ พ.ศ.2537 ไม่อนุญาตให้คัดลอกส่วนใดส่วนหนึ่งของหลักสูตรสัมมนานี้

วิทยากร

ประกอบด้วยคณาจารย์วิทยากร ที่ปรึกษา และผู้บริหารที่มีประสบการณ์สูง เพื่อสร้างมุมมองใหม่จากตัวอย่างและประสบการณ์จริงขององค์การที่ประสบความสำเร็จ เป็นการผสมผสานวิทยากรที่เป็นนักวิชาการและนักวิชาชีพที่เชี่ยวชาญในแต่ละด้านเพื่อความสมบูรณ์ของหลักสูตร

วิธีการฝึกอบรม

วิธีการฝึกอบรมเน้นให้ผู้เข้าอบรมได้แลกเปลี่ยนความคิดเห็นซึ่งกันและกันและนำหลักทฤษฎีไปใช้ในทางปฏิบัติจริงให้มากที่สุด วิธีการฝึกอบรมจึงประกอบด้วยวิธีการต่าง ๆ ที่เหมาะสมแต่ละกรณี  ได้แก่
  - บรรยาย
  - Discussion
  - Workshop
  - Case Study
  - Dinner Talk
  - ทัศนศึกษาดูงาน

การผ่านการอบรม

ผู้เข้ารับการอบรมที่มีเวลาเรียนไม่น้อยกว่า 80% ของเวลาเรียนทั้งหมด จึงมีสิทธิ์ได้รับวุฒิบัตรจากคณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

ระยะเวลาและสถานที่การอบรม

อบรมวันที่ 3 กันยายน – 19 พฤศจิกายน 2567
ทุกวันอังคาร และพฤหัสบดี เวลา 09.00 - 16.00 น. 
   *บางวันอบรม เวลา 09.00 – 19.00 น. (รวม Dinner Talk เวลา 16.00 – 19.00 น.)
   ** ทัศนศึกษาดูงานในประเทศ วันศุกร์
 สถานที่อบรม โรงแรมเอเวอร์กรีน ลอเรล กรุงเทพฯ

ค่าธรรมเนียมการอบรม

  • ค่าธรรมเนียมการอบรมคนละ 140,000 บาท 
  • ค่าธรรมเนียมมีส่วนลด (Early bird) 129,000 บาท (วันที่ 24 มิถุนายน – 23 สิงหาคม 2567)
ค่าธรรมเนียมมีส่วนลด (Early bird) 129,000 บาท (วันที่ 20 กุมภาพันธ์ – 30 เมษายน 2567) 
ซึ่งรวมถึง
  1. ค่าอาหารกลางวัน และอาหารว่างตลอดการอบรม
  2. ค่าอาหารเย็น เฉพาะวันที่มี Dinner Talk
  3. กระเป๋าเอกสาร แฟ้มเอกสาร และสมุดบันทึก
  4. ค่าทัศนศึกษาดูงานในประเทศ
  5. วุฒิบัตร

สอบถามข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่

ศูนย์ให้คำปรึกษาและพัฒนาผู้บริหารทางธุรกิจแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
(Thammasat Consulting Networking and Coaching Center - CONC Thammasat)
ชั้น 3 อาคารธรรมศาสตร์ 60 ปี
คณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
ท่าพระจันทร์ กรุงเทพฯ 10200
Mobile : 09-1119-4503   (ติดต่อ คุณธัญลักษณ์)
E-mail : conc@tbs.tu.ac.th

Click to Call ::  [ Line call ]  [เวลา 8.30 - 17.00 น.]


*มาตรการการจัดอบรม Onsite   **ค่าใช้จ่ายในการอบรม "บริษัท หรือ ห้างหุ้นส่วนนิติบุคล" สามารถนำไปหักลดหย่อนภาษีได้ 200%
   รับชำระค่าธรรมเนียม  

Courses accepting applications


Upcoming Core Courses


All Programs...



Digital marketing,   Mini MBA,   Mini MRE,   Marketing,   Tax planning,   Business strategy,   Innovative entrepreneurship,   Facebook marketing,   Advance HR,   Strategic HRM,   Finance for non-financial executive,   Feasibility study ,   Budgeting techniques ,   Exchange rate risk Management ,   Excellent negotiation ,   Entrepreneurial finance ,   Budgeting ,   Taxation and SMEs ,   Supply chains.   B2B & B2C.   Data Analytics.   SEO.   Digital content architect.   Agile management.   Critical thinking.